Phra Phong Suphan, Wat PhraSriRattanaMahaThat, Suphanburi
( age 700 year)
Name of the image of Buddha: |
Phra Phong Suphan |
Supporter of casting: |
Wat PhraSriRattanaMahaThat |
Location of Casting or Finding: |
Suphanburi |
Year of Casting: |
700 year |
Praise of the image of Buddha: |
Harmproof , radiating with charm and bring good fortune. |
Phra Phong Suphan, Wat PhraSriRattanaMahaThat, Suphanburi
Product : 27
Price :
30,000,000.00 บ..
whats app:0933361995
帕蓬素潘(Phra Phong Suphan): 永無絕景佛,出土于泰国中部的素攀武里府,创造于乌通王朝时期,大约八百多年历史。埋藏在瓦马哈塔(Wat Mahathard)的舍利塔里,是以前的鲁士辟拉莱所制。于半世纪前,有瓦马哈塔的僧侣委员会举行公祭开塔仪式,恭请佛牌出塔,以供善信自由捐庙恭请。剩余的就原封不动,封塔保存至今。目前拍蓬素潘佛牌可达两边网泰铢。约有3种模子,4种不同颜色,分别是红、绿、黑、褐,以抵抗物理伤害为著名。相传其拥有各种佛力,包括佛法、功德、神力, 故至今极少有大师或寺庙制作,同时佩戴者将永不坠入绝境,就算坠入绝境亦能翻身再起。
Phra PhongSuphan
The Buddhist art of Phra Phong Suphan was U-Thong period. Most of them are made in the attitude of sub-during Mara. There were specific qualities such as compounds and other mixers with good virtue and bringing general prosperity or providing supernatural powers. Phra Pong Suphan of Suphanburi is a very popular for collectors.
Phra Phong Suphan were made in 3 moulds:
1. Pim Na-kae (old face)
2. Pim Na-Klang (middle face)
3. Pim Na-Noom (young face)
There are 4 colors: yellow, red, green and black. The different colors were from level of temperature while burnt.
Phra Phong Suphan is good holiness in every aspect such as immortal, harmless, safe from weapons, bringing good-will and very high value.
Phra Phong Suphan deserved to be one of the Grand Five set of Benjapakee the most famous and powerful amulets of Thailand forever.
Phra Phong Suphan made from
1. Fine-grained clay mixed with flora and 108 pollens.
2. High concentration of herb medicine juice or “Kae Wan” in Thai
3. Another content is mixed alloy of lead and tin which called in Thai “Phra Phong Suphan Nua Chin Ngern” or “Phra Phong Suphan Yod Toh” (contain in pot at top of pagoda)
Discovering of Phra Phong Suphan:
The great Buddha amulets from SuphanBuri Province, famous and popular among all admirers are "Phra PhongSuphan" Kru (pits under pagoda) Wat Phra Srirattanamahatarth Suphanburi where was once in the heart of the ancient town Suphannaphum.
The amulets were founded in B.E. 2456 (A.D. 1913) by a monk on pilgrimage who got the clue to a treasure trove. He hired the Chinese man to dig out as specified in treasure clue but the monk did not bring out anything from pits except golden casket. Afterwards, Chinese man had stolen the treasurer including Phra Phong Suphan from pits to sell to market. Later on the governor of the city named Phraya SuntornBuri (Ie Kannasutra) had opened up the pit officially and found many Buddha amulets and antiques. Some of amulets were presented to King Rama VI.
Description :Phra Si Rattana Mahathat Temple
Wat Phra Sri Rattana Mahathat is a priceless temple of the city, aged at least 600 years old; with the main pagoda containing the Buddha's relics, but it was smuggled to find the property until it deteriorated badly. The dungeon in this prang is the origin of the very famous powder amulet in Suphanburi which is one of the 5 popular amulets "Benjaphakee". Many archaeologists commented that this prang is probably the construction art of the U-Thong Suphan period.
Feature
- 2 large reclining Buddha pavilion -
History
It is located in Tambon Rua Yai, on the west bank of Suphan Buri River, at Sompharnkong Road separated from Malaiman Road for about 300 meters. In the past, it was the center of Suphannaphum, and it is a priceless temple, and assumed to be at least 600 years old. The main prang is the place where the relics are contained; but in 1913, villagers smuggled for property until it deteriorated badly. As for the very famous Phong Suphan Buri amulet, which is one of the "Benjaphakee", has gone from the dungeon in this prang as well including other famous amulets apart from Phra Phong Suphan such as; Phra Kamphaeng Sok, Phra Mahesuan, Phra Suphan Yod Tho and Phra Suphan Lang Phan as well as various Chin amulets which is currently rare to find. Many archaeologists commented that it is probably the art of construction in the era of U Thong Suphanphum; because of construction evidence indicates that it is a brick construction without mortar, which is an old method before the Ayutthaya period 帕蓬素攀的歷史
Phra Phong Suphan 是頂級的護身符。在第一價值的睡衣集中在素攀市但是現在很難找到。 (到處都是絨球的東西)
創世傳說
帕蓬素攀的創造傳說克林大師帕那空府查克拉瓦寺說大Wat Chakrawat 是 Lan Thong 的編輯。在 1910 年素攀武里府 Muang 區的 Wat Phra That 寺,具有以下含義:
Supamasdu 1265 顯示泰銖的權利,以知道有一位隱士皮拉萊擔任總統。我們將用力量做到這一點與素婉等製作神器,即王Phra Sri Thammasokarat 是一名信徒,4 位隱士已準備好將所有強大的礦物質和礦物質聚集在一起。再一次,隱士所以請來女神來幫忙舉行儀式一個護身符,一個紅色的地方,做了一個手印粉Phra Maha Therapiya Tassadis Sri Sariputra 主持了那裡。獲得各種礦物質該藥成功風靡並命名為“Sangkamon Minerals”,並被鑄成各種版畫。擁有不同的權力用咒語開光了三個月,然後拿了它,供奉在梵天城的大佛塔里。如果有人找到它,快點把它當作精美的禮物帶去敬拜。
地牢於 1913 年被打破。
品先生說,1913年,那時他還是廟裡的孩子。後來一個和尚問他
Wat“Phra That which way”,Pin先生指路。後來Pin先生得知佛像被刺探尋寶。重要的是一個金棺。並且沒有從地牢中拿走任何東西但是中國僧人雇來挖與護身符很多東西比如Phra Phong Suphan、Phra Kamphaeng Sok等,然後拿出來賣。公務員的意識急於設法填補穿透 Wat Phra Sri Rattana Mahathat 寶塔的空白。
1913年(與地牢同年)披耶順通武里(Ei Karnasut),省長曾率領蒙固國王陛下高棉銘文
後來,Phraya Sunthonburi帶來了 Suphan 的護身符最多向 Lon Klao Rama VI 提供護身符,Wat Phra Si Rattana Mahathat 的 Phra Prang
超自然
在過去,素攀武里的人們經常玩水牛運動,互相賭博,拿錢玩。恰逢其時Phra Phong Suphan 有很多。並且沒有價值(貨幣的價格) 好像今天因此,帶來了素凡的殘軀。徹底研磨將其與草混合,讓水牛吃。然後帶著水牛去碰撞,原來那隻吃了素攀護身符粉末的水牛進展的很好,皮膚也很粘。多麼美妙的事情
arathana使用方法
取粉佛牌Suphan Song香水,坐在佛、法、僧108的加持中,完成3個Pahung誦經。
始終將精油放在手邊。如果你想增加以下章節的魔力,讓你屏住呼吸,專注於更神奇的事情:Kate Lik Ke Karanangmaha Chaiyang Mangalang Namapatha Kirimit Kuru Muthu Keremethe Karamatha Prasitnak 和
帕蓬素攀的特點
- 框架是三角形的,頂部切割(用錘子切割)以及側邊。
- Phra Nang Phaya 的種類有,但很少,身體是佛像。 U-Thong時期藝術
- 有 3 種標準打印類型,即舊面打印、中面打印和年輕面打印。
- 三層Ket護身符鬆弛,左臂末端斷入內角佛耳的莖附在佛頭上,形似山羊的耳朵,氣場類似像頭,背部扁平的小腹幾乎在每個人身上都出現了指紋。
- Phra Phong Suphan 有 4 種不同的顏色:1 黑色,2 紅色,3 綠色,4 幹 Pikul。
佛陀好用在慈悲、大人氣、刀槍不入,以及刀槍不入、刀槍不入。
รหัสสินค้า 27
ราคา :30,000,000.00 บ..
รายละเอียด
ประวัติพระผงสุพรรณ
พระผงสุพรรณ เป็นยอดพระเครื่องฯ ในชุดเบญจภาคีที่มีค่าเป็นอันดับหนึ่ง ในเมืองสุพรรณ แต่ปัจจุบันนี้หาได้ยาก (มีของปอมกลาดเกลื่อนไปหมด )
ตำนานการสร้าง
ตำนานการสร้างพระผงสุพรรณนั้น ท่านอาจารย์กลิ่น วัดจักรวรรดิ์ ฯ จังหวัดพระนคร ได้บอกเล่าว่าท่านมหาชื้น วัดจักรวรรดิ์ ฯ เป็นผู้ตัดต่อจากลานทอง ที่ปรางวัดพระธาตุ อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี เมื่อปี พ,ศ ๒๔๕๓ มีใจความดังนี้ คือ
ศุภมัสดุ ๑๒๖๕ สิทธิการิยะแสดงบาทไว้ให้รู้ว่ามีฤาษีพิลาลัยเป็นประธาน เราจะทำด้วยฤทธิ์ ทำเครื่องประดิษฐ์มีสุวรรณ เป็นต้น คือ พระบรมกษัตริย์ พระศรีธรรมาโศกราชเป็นผู้ศรัทธา ฤาษีทั้ง ๔ ตน จึงพร้อมใจกันนำเอาแร่ว่านทั้งหลายอันมีฤทธิ์กับแร่ต่างๆ ครั้งได้แล้วพระฤาษี จึงอันเชิญเทพยดา เข้ามาช่วยกันทำพิธีเป็น พระพิมพ์สถานหนึ่ง สถานหนึ่งแดง ได้เอาว่านทำผงปั้นพิมพ์ด้วยลายมือ พระมหาเถรปิยทัสสะดิสศรีสาริบุตร คือเป็นใหญ่ เป็นประธานในที่นั้น ได้อาแร่ต่างๆ ซัดยาสำเร็จแล้วให้นามว่า “แร่สังฆวานร “ ได้หล่อเป็นพิมพ์ต่างๆ มีอานุภาพต่างๆกัน เสกด้วยมนต์คาถาครบ ๓ เดือน แล้วเอาไปประดิษฐานไว้ในสถูปใหญ่แห่งเมืองพรรธม ถ้าผู้ใดได้พบให้รีบเอาไปสักการบูชาเป็นของวิเศษนักแล ฯ
กรุแตกเมื่อปี พ. ศ. ๒๔๕๖
นาย พิน ฯ ได้เล่าว่า ในปี พ. ศ ๒๔๕๖ สมัยนั้นตนยังเป็นเด็กลูกวัดอยู่ ต่อมาได้มีพระดงค์รูปหนึ่งมาถามแกว่า
วัด “พระธาตุไปทางไหน” นายพิน ฯ ก็ชี้บอกทางให้ ครั้งภายหลัง นายพินฯ จึงมาทราบว่าพระธุดงค์รูปนั้นได้ลายแทงมาขุดหาสมบัติ ของสำคัญได้ผอบทองคำไปใบหนึ่ง และมิได้นำอะไรไปจากกรุเลย แต่ชาวจีนที่พระธุดงค์จ้างมาขุด กับได้พระเครื่องฯ ต่างๆไปเป็นอันมาก อาทิเช่นพระผงสุพรรณ พระกำแพงศอก ฯลฯ แล้วนำออกเร่ขาย ความทราบถึงเจ้าหน้าที่ฝ่ายบ้านเมืองก็รีบไปจัดการอุดช่องที่เจาะพระปรางค์วัดพระศรีรัตนมหาธาตุเสีย
ในปี พ.ศ.๒๔๕๖ (ปีเดียวกับกรุแตก ) พระยาสุนทรบุรี (อี้ กรรณสูต ) ผู้ว่าราชการจังหวัด ได้นำเสด็จพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวไปเปิดกรุได้พบลายแทงแผ่นลายเงิน-ทอง จารึกอักษรขอม
ครั้งต่อมาพระยาสุนทรบุรี ได้นำเอาพระผงสุพรรณ ขึ้นถวายตลอดจนพระเครื่อง ฯ กรุพระปรางค์วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ แด่ล้นเกล้า ฯ ร. ๖
อภินิหาร
สมัยก่อนโน้น ชาวเมืองสุพรรณนิยม กีฬาชนควาย พนันกัน เอาเงินเอาทองและเล่นกันมาก ประจวบกับในระหว่างนั้น พระผงสุพรรณนั้นมีมาก และไม่มีมูลค่า(ราคาของเงิน )เหมือนเช่นปัจบันนี้ จึงได้นำเอาพระผงสุพรรณองค์ที่แตกหัก ไปป่นให้ละเอียด ผสมคลุกกับหญ้าให้ควายกิน แล้วนำควายไปชนกัน ปรากฏว่า ควายที่กินเศษผงพระผงสุพรรณเข้าไป ขวิดได้ดีมาก และหนังเหนียวเสียด้วย เป็นที่อัศจรรย์ยิ่งนัก
วิธีการอาราธนา-การใช้
ให้เอาพระผงสุพรรณสรงน้ำหอม นั่งบริกรรม พุทธคุณ, ธรรมคุณ, สังฆคุณ ๑๐๘ จบ สวดพาหุง ๓ จบ
ให้เก็บน้ำมันหอมไว้ใช้ได้เสมอ และถ้าจะให้เพิ่มความขลังให้ว่าบทดังนี้อีกกลั้นลมหายใจให้เป็นสมาธิเพื่อความขลังยิ่งขึ้นว่า คะเต ลิก เก กะระณังมะหา ชัยยังมังคะลัง นะมะพะทะ กิริมิติ กุรุมุธุ เกเรเมเถ กะระมะถะ ประสิทธิ์นักแลฯ
ลักษณะพระผงสุพรรณ
- กรอบ เป็นรูปสามเหลี่ยม ยอดตัด ( ตัดด้วยตอก )ตลอดจนขอบข้าง
- แบบชนิดคล้ายพระนางพญาก็มี แต่มีน้อยมาก พระวรกาย เป็นพระพุทธรูป ศิลป์สมัยอู่ทอง
- แบบพิมพ์ที่มารตฐาน มี ๓ แบบคือ พิมพ์หน้าแก่ พิมพ์หน้ากลาง และ พิมพ์หน้าหนุ่ม
- พระเกศ ซ้อนกัน ๓ชั้น พระกรรณ หย่อนยาน ปลายพระกรรณซ้ายหักเข้ามุมใน ต้นของพระกรรณติดกับพระเศียร คล้ายหูแพะ พระอุระ คล้ายหัวช้าง พระอุทร แฟบ ด้านหลังจะปรากฏรอยนิ้วมือเกือบทุกองค์
- พระผงสุพรรณ มีสีที่แตกต่างกัน ถึง ๔ สี คือ ๑ สีดำ ๒ สีแดง ๓ สีเขียว ๔ สีพิกุลแห้ง
พระพุทธคุณนั้น ใช้ดีในทางเมตตามหานิยม คงกระพัน ตลอดจน แคล้ว และคงกระพันชาตรี
@--------------------- ขอบคุณครับ
---------------------@ ---------
เพื่อนๆท่านใดสนใจโทรติดต่อด่วนครับ
---------
--------------- พร บางระจัน
0 93-3361995 -----------------
|